กว่าจะมาเป็นพระรุ่น
ประทานทรัพย์
ต้องอาศัยสิ่งบอกเหตุและครูบาอาจย์เป็นผู้มาชี้แนะในนิมิตร และกำหนดแบบพิมพ์
เพราะฉะนั้นมิได้เอาสวยหรือตามใจใครทั้งนั้น และแถมด้วยลักษณะให้ถูกต้องตามหลักศาสตร์
ทั้งแบบพิมพ์ เนื้อหามวลสารต่างๆ เปรียบได้กับเทวาจัดสรรญก็ว่าได้
เพราะทุกอย่างลงตัวแบบไม่น่าเชื่อ
ที่มารูปทรงพระสีวลี : แรกเริ่มเดิมที หลวงพ่อได้เลือกแบบเป็นพระสีวลี นั่งจกบาตร
แต่ให้กำหนดหาลัีกษณะของรูปทรงว่าแบบไหนดีจน อาจารย์ผู้ที่ออกแบบ
ก็คิดไม่ออกว่าแบบไหนสวย และมีความหมายดีดี อยู่หลายวัน จนวันหนึ่งหลังจากได้สวดมนต์ไหว้พระตอนเช้าเสร็จ
และได้นั่งสมาธิ จนเกิดเป็นนิมิตรูปทรงซุ้มเรือนแก้ว ทรงนี้ ดูดีดีแล้วคล้ายซุ้มเจ้าสัวมากครับ
ที่ของชื่อรุ่น ประทานทรัพย์
ทีแรกเ้ลยกำหนดกันกับหลวงพ่อว่าชื่อรุ่น โภคทรัพย์ เพราะเห็นว่า พระสีวลีทรงนี้ เป็นปางจกบาตร
แต่หลังจากกลับมาแล้วลองถามครูอาจารย์ท่านดู หลังจากทำการสวดมนต์นั่งสมาธิในตอนเช้าเสร็จ
ปรากฎว่าใช้ชื่อรุ่น โภคทรัพย์ ครูท่านว่าไม่เหมาะ จึงเปลี่ยนเป็น
ชื่อรุ่น ประทานทรัพย์
ท่านจึงว่าเหมาะแล
คำว่าประทานทรัพย์ นั้นย่อมมีความหมายมงคลอยู่ในตัวนั้นแล คือการที่มีผู้นำทรัพย์โชคลาภ มาให้ถึงที่นั้นแล
คำโบราณท่านว่า : พระสีวลีนั้น พระพุทธเจ้าได้ทรงยกย่องให้เป็นพระอรหันต์ที่เป็นเอกด้านโชคลาภ มีเพียงท่านเดียว
ที่ท่านอุ้มบาตร : เปรีบได้ว่ามีกูแล้วไม่จน
ท่าที่ท่านนั่งนั้น : เปรียความว่า ไม่ต้องเดินหาแสวงหา ลาภนั้นมาหาเอง ไม่อดเตรียมเปรี่ยมไปด้วยความอุดมสมบูรณ์
เหมาะกับห้างร้านค้า สำนักงานต่างๆ และผู้ที่เน้นทางด้านโชคลาภ
ขอย้ำว่า
" มีกูแล้วไม่จน "
พระสีวลีนั่งจกบาตร ทำถึงต้องนั่ง และจกบาตร
ท่านเป็นพระสาวกและเป็น พระอรหันต์ ที่อุปสมปท ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระพุทธเจ้าเป็นผู้บวชให้)
และท่านต้องเดินธุดงค์ มาต้อง2500กว่าปีแล้ว ที่หลายวัดท่านสร้างให้ท่านเดินยืนธุดงค์มานานมากแล้ว
ท่านเหนื่อยแล้ว เดินทางมาตั้ง2500กว่าปี จึงให้ท่านนั่งเสียบ้าง ลาภนั้นจึงจะมาเองแล